|
อิสสา |
* * * คลิกให้กำลังใจผู้ทำเว็บ ด้วยการคลิกที่ "กรอบสีชมพู" ที่อยู่ด้านบนสุดให้ด้วยนะครับ ขอบคุณครับ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - |
ข่าวสาร ( คลิกเพื่ออ่าน ) |
ธรรมฝ่ายชั่วนี้มี 3 อย่าง คือ * * * โทสะ เป็นธรรมชาติที่ประทุษร้ายหรือความโกรธ * * * อิสสา เป็นธรรมชาติที่ไม่พอใจในคุณสมบัติหรือคุณความดีของผู้อื่นหรือความอิจฉา * * * มัจฉริยะ เป็นธรรมชาติที่หวงแหนในสมบัติและคุณความดีของตนหรือความตระหนี่ * * * กุกกุจจะ เป็นธรรมชาติที่รำคาญใจในความชั่วที่ได้ทำแล้วและรำคาญใจหรือร้อนใจทียังไม่ได้ทำความดี ข้างบนนี้ เอาข้อมูลมาจาก : https://th.wikipedia.org/wiki/โทสะ#cite_note-2 - - - - - - - - - - - - - - - - - - - อิจฉา ไม่ได้เพี้ยนมาจาก “อิสสา” / ทำความรู้จักกับ “อิจฉา” และ “อิสสา” ในบาลี ( 1 ) “อิจฉา” บาลีเขียน “อิจฺฉา” ( มีจุดใต้ จ ) อ่านว่า อิด-ฉา รากศัพท์มาจาก อิสฺ ( ธาตุ = ปรารถนา , อยาก ) + ณฺย ปัจจัย ( ปัจจัยตัวนี้ลงในคำใด ทำให้คำนั้นเป็นภาวนามหรืออาการนาม มักขึ้นต้นคำแปลว่า “ความ- ,” หรือ “การ-” ) , ลบ ณฺ ( ณฺย > ย ) , แปลง ย กับ สฺ ที่สุดธาตุเป็น จฺฉ ( อิสฺ + ย = อิสฺย > อิจฺฉ ) + อา ปัจจัยเครื่องหมายอิตถีลิงค์ : อิสฺ + ณฺย = อิสฺณฺย > อิสฺย > อิจฺฉ + อา = อิจฺฉา แปลตามศัพท์ว่า “กิริยาที่อยากได้” หรือ “ความอยากได้” หมายถึง ความปรารถนา , ความประสงค์ , ความต้องการ พจนานุกรมบาลี-อังกฤษ แปล “อิจฺฉา” ว่า wish , longing , desire ( ความปรารถนา, ความประสงค์, ความอยากได้ ) ( 2 ) “อิสสา” บาลีเขียน “อิสฺสา” ( มีจุดใต้ ส ) อ่านว่า อิด-สา รากศัพท์มาจาก อิสฺสฺ ( ธาตุ = ไม่พอใจ ) + อ ปัจจัย + อา ปัจจัยเครื่องหมายอิตถีลิงค์ : อิสฺสฺ + อ = อิสฺส + อา = อิสฺสา แปลตามศัพท์ว่า “กิริยาที่ไม่พอใจในความดีทั้งที่มีอยู่ของผู้อื่น” คำว่า “อิสฺสา” นี้ เราไม่คุ้นในภาษาไทย จึงควรขยายความอีกเล็กน้อย กล่าวคือ บทวิเคราะห์ ( คือการกระจายคำเพื่อหาความหมาย ) ของคำว่า “อิสฺสา” ท่านแสดงเป็นสูตรไว้ว่า “อิสฺสติ สนฺเตสุปิ คุเณสุ วจสา มนสา วา โทสาโรปนํ กโรตีติ อิสฺสา” แปลเต็มความว่า “กิริยาที่ไม่พอใจในความดีทั้งที่มีอยู่ของผู้อื่น คือทำการยกความผิด ( ข้อบกพร่อง ข้อเสียหายของผู้อื่น ) ด้วยการพูด หรือด้วยการคิด” ขยายความว่า : เมื่อเห็นผู้อื่นได้รับผลดีจะเนื่องด้วยเขามีคุณความดีหรือด้วยเหตุอย่างใดๆ ก็ตาม ก็ไม่พอใจ ความไม่พอใจนั้นอาจแสดงออกมาเป็นคำพูด หรือแม้ไม่พูดออกมาก็ครุ่นคิดขุ่นมัวอยู่ในใจตัวเอง นี่คือ “อิสฺสา” พจนานุกรมบาลี-อังกฤษ แปล “อิสฺสา” ว่า jealousy , anger , envy , ill-will ( ความอิจฉา , ความโกรธเคือง , ความริษยา , เจตนาร้าย ) คำว่า “อิสฺสา” นี้ เราใช้อิงรูปสันสกฤตเป็น “ริษยา” คราวนี้มาดูความหมายของคำเหล่านี้ที่เราเอาใช้ในภาษาไทย พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2554 บอกไว้ว่า – ( 1 ) อิจฉา : ( คำกริยา ) เห็นเขาได้ดีแล้วไม่พอใจ อยากจะมีหรือเป็นอย่างเขาบ้าง ( มีความหมายเบากว่า ริษยา ) ( ป. , ส. อิจฺฉา ว่า ความอยาก, ความต้องการ, ความปรารถนา ) ( 2 ) อิสสา : ( คำนาม ) ความหึงหวง , ความชิงชัง ( ป. ; ส. อีรฺษฺยา ) ( 3 ) ริษยา : ( คำกริยา ) อาการที่ไม่อยากให้คนอื่นได้ดี , เห็นเขาได้ดีแล้วทนนิ่งอยู่ไม่ได้ ( ส. อีรฺษฺยา; ป. อิสฺสา ) โปรดสังเกตเป็นพิเศษที่คำว่า “อิจฉา” ซึ่งจะเห็นได้ว่าเป็นความหมายของ “ริษยา” และโปรดอย่าลืมว่า “ริษยา” ก็คือ “อิสฺสา” ในบาลี สรุปว่า ในบาลีมีทั้ง “อิจฺฉา” ( ความปรารถนา , ความประสงค์ , ความอยากได้ – wish , longing , desire ) และ “อิสฺสา” ( คือ “ริษยา” ความโกรธเคือง , ความริษยา , เจตนาร้าย – jealousy , anger , envy , ill-will ) และคำบาลีเมื่อเอามาใช้ในภาษาไทย บางคำความหมายเคลื่อนที่หรือผิดเพี้ยนไปจากเดิม อภิปราย : มีผู้แสดงความเห็น ( ซึ่งอาจถือว่าเป็นทฤษฎี ) ว่า คำว่า “อิสฺสา” ในบาลีนี้คนในแถบภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทยออกเสียงถูกต้อง คือออกเสียงว่า อิด-สา ( อย่าลืมว่า “อิสฺสา” คือ “ริษยา” : อาการที่ไม่อยากให้คนอื่นได้ดี , เห็นเขาได้ดีแล้วทนนิ่งอยู่ไม่ได้ – jealousy , anger , envy , ill-will ) แต่คำว่า “อิสฺสา” ในบาลีนี้ คนในแถบภาคกลางของไทยออกเสียงเพี้ยนไปเป็น “อิจฉา” ( รูปและเสียงไปตรงกับ “อิจฺฉา” ความปรารถนา , ความประสงค์ , ความอยากได้ – wish , longing , desire ) ดังนั้น “อิจฉา” ในภาษาไทยจึงหมายถึง “เห็นเขาได้ดีแล้วไม่พอใจ อยากจะมีหรือเป็นอย่างเขาบ้าง” โดยเฉพาะความหมายที่ว่า “เห็นเขาได้ดีแล้วไม่พอใจ” นั้น เป็นความหมายของ “อิสฺสา” ในบาลีตรงๆ สรุปทฤษฎีว่า “อิจฉา” ต้องหมายถึง “เห็นเขาได้ดีแล้วไม่พอใจ” อันเป็นความหมายของ “อิสสา” ก็เพราะ “อิจฉา” คือ “อิสสา” ที่คนภาคกลางออกเสียงเพี้ยนนั่นเอง ถ้าทฤษฎีนี้ถูกต้อง : คำว่า “อิจฉา” คนภาคกลางของไทยออกเสียงเพี้ยนมาจากคำว่า “อิสฺสา” ในบาลี ดังนั้น ความหมายของ “อิจฉา” ในภาษาไทยจึงเป็นความหมายของ “อิสฺสา” ในบาลี ก็จะต้องมีคำตอบสำหรับคำที่จะยกมาเป็นตัวอย่างเหล่านี้ — – คำว่า “โมโห” ในบาลีหมายถึง ความหลง แต่ในภาษาไทยหมายถึง ความโกรธ – คำว่า “สงสาร” ในบาลีหมายถึง การเวียนว่ายตายเกิด แต่ในภาษาไทยหมายถึง รู้สึกเห็นใจในความเดือดร้อนหรือความทุกข์ของผู้อื่น – คำว่า “เวทนา” ในบาลีหมายถึง “เสวยอารมณ์” คือความรู้สึกสุข ทุกข์ หรือเฉยๆ แต่ในภาษาไทยหมายถึง สังเวชสลดใจ ถามว่า คำว่า “โมโห” “สงสาร” “เวทนา” คนภาคกลางของไทยออกเสียงเพี้ยนมาจากคำอะไรในบาลี? ข้างบนนี้ เอาข้อมูลมาจาก : http://dhamma.serichon.us/2018/12/30/อิจฉา-ไม่ได้เพี้ยนมาจาก/ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - |
|
- จบ - |
![]() |
![]() |
- - - :/ - - - |
![]() |
* * * หน้าเว็บ "ในส่วนที่อยู่ด้านล่างลงไปนี้" เป็นแบบฟอร์มที่ทาง Webmaster เก็บเอาไว้บริหารจัดการ ตอนที่จะซ่อมแซม หรือปรับปรุงหน้าเว็บ "ในส่วนที่อยู่ด้านบน" ในอนาคตครับ / คือหมายความว่า หน้าเว็บ "ในส่วนที่อยู่ด้านล่างลงไปนี้" ไม่ได้มีไว้สำหรับให้อ่านครับ |
![]() |
- - - ข้างล่างนี้ คือแบบฟอร์มสำรอง - - - |
![]() |
|
|
|
|
|
:/ |
:/ ( ข้างล่างนี้ ) |
รหัสภาพ
|
00 ( ภาพบน ) :/ :/ ภาพข้างบนนี้มาจาก |
|
( ภาพบน ) |
:/ |
![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() |
:/ |
* * * * * * * * * * * * * * * * * * |
:/ |
![]() - - - / - - - - - - / - - - - - - / - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - / - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - / - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - / - - - ![]() - - - / - - - ![]() - - - / - - - ![]() - - - / - - - ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() - - - - - - - - - - - - - - - - - - - * * * * * * * * * * * * * * * * * * |
:/ |
:/ |
/ สวัสดีครับ * * * * ทีมงาน tuvagroup.com - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ทีมงานเพาะกายครับ |
:/ |
คำถาม : :/ คำตอบ : - - - - - - - - - - - - - - - - - - - คำถาม : :/ คำตอบ : - - - - - - - - - - - - - - - - - - - คำถาม : :/ คำตอบ : - - - - - - - - - - - - - - - - - - - |
![]() |
- - - ไม่มีภาพ - - - |
![]() |
|
![]() |
- - - 1 ภาพ - - - |
![]() |
|
![]() |
- - - 5 ภาพ - - - |
![]() |
|
![]() |
- - - 10 ภาพ - - - |
![]() |
|
![]() |
- - - 30 ภาพ - - - |
![]() |
|
![]() |
- - - ข้างล่างนี้เป็นของเก่าที่เคยทำไว้ ยังใช้อยู่ แต่ไม่ค่อยได้ใช้แล้ว - - - |
![]() |
* * * คลิกให้กำลังใจผู้ทำเว็บ ด้วยการคลิกที่ "กรอบสีชมพู" ที่อยู่ด้านบนสุดให้ด้วยนะครับ ขอบคุณครับ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - * * * หากภาพในหน้าเว็บนี้ขึ้นไม่ครบ กรุณาคลิกที่เมนู "Reload this page" นะครับ / ถ้าหาเมนูนี้ไม่พบ ให้อ่านคำแนะนำที่ลิงก์นี้นะครับ http://www.tuvagroup.com/7fvhp-A-03-Q-591211-1724.html - - - - - - - - - - - - - - - - - - - |
* * * คลิกให้กำลังใจผู้ทำเว็บ ด้วยการคลิกที่ "กรอบสีชมพู" ที่อยู่ด้านบนสุดให้ด้วยนะครับ ขอบคุณครับ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - * * * หากภาพในหน้าเว็บนี้ขึ้นไม่ครบ กรุณาคลิกที่เมนู "Reload this page" นะครับ / ถ้าหาเมนูนี้ไม่พบ ให้อ่านคำแนะนำที่ลิงก์นี้นะครับ http://www.tuvagroup.com/7fvhp-A-03-Q-591211-1724.html - - - - - - - - - - - - - - - - - - - |
ค้นคว้า - หาข้อมูล : - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ชื่อภาษาต่างประเทศ : อีกชื่อหนึ่ง คือ : ชื่อภาษาไทย : นามแฝง หรือ ฉายา : วันเดือนปีที่เกิด : 2 เมษายน พ.ศ.2518 / April 2, 1975 วันเดือนปีที่เสียชีวิต : 8 เมษายน พ.ศ.2555 / April 8, 2012 / เสียชีวิต ขณะอายุ 75 ปี ( ภาพที่เห็นในหน้าเว็บนี้ เป็นการบันทึกภาพในช่วงอายุ 25 - 38 ปี / หน้าเว็บนี้ Upload เมื่อ พ.ศ. ( ค.ศ. ) สถานที่เกิด : ที่อยู่ปัจจุบัน : ความสูง : 177.8 เซนติเมตร / 5 ฟุต 10 นิ้ว น้ำหนัก : ช่วงฤดูการแข่งขัน 127 - 129 กก. ( 280 - 285 ปอนด์ ) / ช่วงนอกฤดูการแข่งขัน 134 - 136 กก. ( 295 - 300 ปอนด์ ) สัดส่วน : ต้นแขน 18 นิ้ว ( 45.7 ซม. ) / แขนท่อนปลาย 16.5 นิ้ว ( 41.9 ซม. ) / คอ 17.5 นิ้ว ( 44.5 ซม. ) / หน้าอก 52 นิ้ว ( 132 ซม. ) / เอว 29 นิ้ว ( 73.7 ซม. ) / ต้นขา 26 นิ้ว ( 73.7 ซม. ) / น่อง 16.5 นิ้ว ( 41.9 ซม. ) / ข้อมือ 6.5 นิ้ว ( 16.5 ซม. ) / ข้อเท้า 8 นิ้ว ( 20.3 ซม. ) จุดเด่นบนร่างกาย : ข้อมูลที่น่าสนใจ : ได้ใบรับรองเป็นนักเพาะกายอาชีพ : จากการประกวดในรายการ ( ขณะที่อายุ 25 ปี ) ข้อมูลข้างบนนี้ อ้างอิงจาก : - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ประวัติโดยสังเขป : ข้อมูลข้างบนนี้ อ้างอิงจาก : - - - - - - - - - - - - - - - - - - - รายการประกวดที่ผ่านมา : ( นับถึงปี พ.ศ. ( ค.ศ. ) ) ข้อมูลข้างบนนี้ อ้างอิงจาก : - - - - - - - - - - - - - - - - - - - |
|
|
|
|
|
|
|
|
* * * จะบริหารท่านี้ได้ ต้องมีอุปกรณ์เหมือนในภาพข้างบนนี้ก่อนนะครับ * * * |
จะบริหารท่านี้ได้ เพื่อนสมาชิกจะต้องมีอุปกรณ์เหมือนในภาพด้านซ้ายมือนี้ก่อนนะครับ |
จะบริหารท่านี้ได้ เพื่อนสมาชิกจะต้องมีอุปกรณ์เหมือนในภาพด้านซ้ายมือนี้ก่อนนะครับ | |
จะบริหารท่านี้ได้ เพื่อนสมาชิกจะต้องมีอุปกรณ์เหมือนในภาพด้านซ้ายมือนี้ก่อนนะครับ | |
จะบริหารท่านี้ได้ เพื่อนสมาชิกจะต้องมีอุปกรณ์เหมือนในภาพด้านซ้ายมือนี้ก่อนนะครับ | |
จังหวะที่ 1 | จังหวะที่ 2 |
จังหวะที่ 1 | จังหวะที่ 2 |
จังหวะที่ 1 (
ภาพบน ) |
จังหวะที่ 2 (
ภาพบน ) |
วีดีโอข้างล่างนี้ / ให้ดูที่เวลา ..... เป็นต้นไป / ให้ดูที่เวลา ..... ถึงเวลา ..... เท่านั้น |
ให้ดูที่เวลา ..... เป็นต้นไป / ให้ดูที่เวลา ..... ถึงเวลา ..... เท่านั้น 00 ชื่อหัวข้อเรื่อง ( ทำลิงก์ไว้ในหัวข้อเลย ) โดย วิธีใช้วีดีโอ / วิธีแจ้งวีดีโอลิงก์ขาด |
:/ |
:/ ( ข้างล่างนี้ ) |
รหัสภาพ
|
00 ( ภาพบน ) :/ :/ ภาพข้างบนนี้มาจาก |
|
( ภาพบน ) |
- END - |
- จบ หน้า 1 - |
หน้าถัดไป |
หน้าถัดไป |
1 >< 2 >< 3 >< 4 >< 5 >< 6 >< 7 >< 8 >< 9 >< 10 >< >< 11 >< 12 >< 13 >< 14 >< 15 >< 16 >< 17 >< 18 >< 19 >< 20 >< 21 >< 22 >< 23 >< 24 >< 25 >< 26 >< 27 >< 28 >< 29 >< 30 >< 31 >< 32 >< 33 >< 34 >< 35 >< 36 >< 37 >< 38 >< 39 >< 40 >< 41 >< 42 >< 43 >< 44 >< 45 >< 46 >< 47 >< 48 >< 49 >< 50 >< 51 >< 52 >< 53 >< 54 >< 55 >< 56 >< 57 >< 58 >< 59 >< 60 |
หน้าหลัก |
ประกาศ ( คลิกเพื่ออ่าน ) |
ข่าวสาร ( คลิกเพื่ออ่าน ) |
- จบ - |
- END - |
![]() |